21 มกราคม 2557
วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษEAED2209
เวลา 11.30 - 14.00 น.
พัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
พัฒนาการ
· การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่างๆรวมทั้งตัวบุคคล
·
ทำให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
· เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติในวัยเดียวกัน
· พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านใดด้านหนึ่ง
· พัฒนาการล่าช้าในด้านหนึ่งอาจส่งผลให้พัฒนาการในด้านอื่นล่าช้า
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก
· ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
· ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด
· ปัจจัยด้านกระบวนการคลอด
· ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด
สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
1.
โรคทางพันธุกรรม
- เด็กจะมีพัฒนาการล่าช้ามาตั้งแต่เกิดหรือสังเกตได้ชั่วระยะไม่นานหลังเกิด
มักมีลักษณะผิดปกติแต่กำเนิดร่วมด้วย
2.
โรคของระบบประสาท
- เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการส่วนใหญ่มักมีอาการหรืออาการแสดงทางระบบประสาทร่วมด้วย
- ที่พบบ่อยคืออาการชัก
3.
การติดเชื้อ
- การติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์ น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย
ศีรษะเล็กกว่าปกติอาจมีตับม้ามโต การได้ยินบกพร่อง ต้อกระจก
4.
ความผิดปกติที่เกี่ยวกับเมตตาบอลิซัม
-
โรคที่ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขไทย
คือ ไทรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำ
5.
ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด
-
การเกิดก่อนกำหนด
น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อยและภาวะขาดออกวิเจน
6.
สารคดี
ตะกั่ว
-
ตะกั่วเป็นสารที่มีผลกระทบต่อเด็กและมีการศึกษามากที่สุด
-
มีอาการซึมเศร้า
เคลื่อนไหวช้า ผิวดำหมองคล้ำเป็นจุดๆ
-
ภาวะเป็นพิษ
-
ระดับสติปัญญาต่ำ
แอลกอฮอร์
-
น้ำหนักแรกเกิดน้อย
-
มีอัตราการเพิ่มน้ำหนักหลังเกิดน้อย
ศีรษะเล็ก
-
พัฒนาการทางสติปัญญามีความบกพร่อง
-
เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
Fetal Alcohol syndrome , FAS
-
ช่วงตาสั้น
-
ร่องริมฝีปากบนเรียบ
-
ริมฝีปากบนยาวและบาง
-
หนังคลุมหน้าตามาก
-
จมูกแบนปลายจมูกเชิดขึ้น
นิโคติน
-
น้ำหนักแรกเกิดน้อย
ขาดสารอาหารในระยะตั้งครรภ์
-
เพื่ออัตราการภายในวัยทารก
-
สติปัญญาบกพร่อง
-
สมาธิสั้น
พฤติกรรมก้าวร้าว มีปัญหาด้านการเข้าสังคม
7.
การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งการขาดสารอาหาร
อาการของเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
-
มีพัฒนาการล่าช้าซึ่งอาจจะพบมากกว่า
1 ด้าน
-
ปฏิกิริยาสะท้อน
Primifiv reflx ไม่หายไปแม้จะถึงช่วงอายุที่ควรจะหายไป
-
แนวทางการวินิจฉัยเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
1. การชักประวัติ
-
โรคประจำตัว
โรคทางพันธุกรรม
-
การเจ็บป่วยในครอบครัว
-
ประวัติการฝากครรภ์
-
ปะวัติเกี่ยวกับการคลอด
-
พัฒนาการที่ผ่านมา
-
การเล่นตามวัย
การช่วยเหลือตัวเอง
เมื่อชักประวัติแล้วจะสามารถบอกได้ว่า
-
ลักษณะพัฒนาการล่าช้าเป็นแบบคงที่
-
เด็กมีระดับพัฒนาการช้าหรือไม่
-
มีข้อบ่งชี้
2. การตรวจร่างกาย
3. การสืบค้นทางห้องปฏิบัติการ
4. การประเมินพัฒนาการ
- การประเมินแบบไม่เป็นทางการ
การประเมินที่ใช้ในเวชปฏิบัติ
-
แบบทดสอบ Denver ll
-
Gesell Drawing Test
-
แบบประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิด
– 5 ปี
แนวทางในการดูรักษา
-
หาสาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
-
การตรวจค้นหาความผิดปกติร่วม
-
การรักษาสาเหตุโดยตรง
-
การส่งเสริมพัฒนาการ
-
ให้คำปรึกษากับครอบครัว
ขั้นตอนในการดูแลเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
-
การตรวจคัดกรองพัฒนาการ
-
การตรวจประเมินพัฒนาการ
-
การให้การวินิจฉัยและหาสาเหตุ
-
การให้รักษาปละส่งเสริมพัฒนาการ
-
การติดตามและประเมินผลการรักษาเป็นระยะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น